วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียน ประจำวันพุธที่28 มกราคม 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่4

ความรู้ที่ได้


การทำกิจกรรมเปรียบเทียบเวลา โดยการนำชื่อตัวเองไปติดหน้ากระดานว่ามาก่อนหรือหลัง เกณฑ์ในการทำกิจกรรม คือ 12.00 น.

- เลขที่ 7-9 นำเสนอโทรทัศน์ครู


  1. เป็นการสอนเกี่ยวกับการนับลข โดยใช้ผลไม้เข้ามาเป็นสื่อใช้ในการสอน
  2. เป็นวีดีโอการสอนคณิตศาสตร์เด็กอนุบาล 2-3 โดยครูจอย จากรายการ ท็อกอะเบาร์คิสการใช้สื่อเข้ามาใช้ในการสอน ใช้ศิลปะในการสอน
  3. วีดีโอเรื่อง เลขรอบตัวเรา ก่อนรียนจะมีการเตรียมตัวก่อนโดยการอบอุ่นร่างกาย สอนเลขผ่านเพลงและสัญลักษณ์ต่างๆ
-  การอนุรักษ์ คือการใช้หตุผล โดยจะประกอบไปด้วยการนับ การจับคู่ การเปรียบเทียบ

- คุณลักษณะตามวัยของเด็กหรือพัฒนาการตามธรรมชาติ

คุณลักษณะตามวัยก็คือพฤติกรรมตามวัย จะต้องีการพัฒนาไปตามธรรมชาติ พัฒนาครบทั้ง 4  ด้าน คือ 

ร่างกาย อารมณ์จิตใจ  สังคม  สติปญญา 

- ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียเจต์ 
  1.  ความรู้ด้านกายภาพสามารถจับต้องได้ รับรู้ได้
  2. ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์ เป็นความรู้ที่เกิดขึ้นภายใน เกิดจากการเชื่อมโยงเข้ากบทฤษฎีโดยการลงมือปฏิบัติ
- จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับด็กปฐมวัย

  1. เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ การรู้จักคำศัพท์  เช่น ตัวเลข ขนาด รูปร่าง อุณหภูมิ
  2. พัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ช่น การบวก การลบ
  3. รู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
  4. ให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน เช่น การรวมกัน มากกว่า น้อยกว่า
  5. ส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
ที่สำคัญการกำหนดกฎเกณฑ์ในการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ต้องกำหนดเกณฑ์เดียว เพื่อความเข้าใจและไม่สับสนของเด็ก

- ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

  1. การสังกต ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
  2. การจำแนกประเภท
  3. การเปรียบเทียบ จะต้องมีตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป
  4. การจัดลำดับ เป็นทักษะการเปรียบทียบขั้นสูง
  5. การวัด มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์หรือการใช้เหตุผล   การวัดสำหรับเด็กปฐมวัยจะไม่ใช้หน่วยวัดมาตรฐานในการวัด
  6. การนับ สำหรับเด็กจะชอบการนับแบบท่องจำหรือการนับปากปล่า
  7. รูปทรงและขนาด เด็กจะเรียนรู้จากประสบการณ์เดิม
- ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์   จะประกอบไปด้วย การนับ ตัวเลข การจับคู่  การจัดประเภท

เปรียบเทียบ จัดลำดับ รูปทรงและเนื้อที่

- หลักการสอนของคณิตศาสตร์

  1. สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเด็กมองเห็น ความจำเป็นและประโยชน์ของสิ่งที่ครูสอน
  2. เปิดโอกาสให้เด็กค้นพบด้วยตนเอง
  3. มีเป้าหมายวางแผน
  4. เอาใจใส่การเรียนรู้ตามลำดับขั้นพัฒนาการ
ทักษะ

- การทำกิจกรรมเปรียบเทียบเวลา โดยการนำชื่อตัวเองไปติดหน้ากระดานว่ามาก่อนหรือหลัง เกณฑ์ในการทำกิจกรรม คือ 12.00 น. 

- ทดสอบก่อนเรียน

- ระดมความคิดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

วิธีการสอน

- การใช้คำถาม

- ใช้เพลงมาประกอบในการสอน

- บรรยายประกอบ power point

ประเมินสภาพห้องเรียน

- โต๊ะที่จัดในห้องเรียนไม่ค่อยสะดวกในการเรียนสักเท่าไหร่

- บรรยากาศก็เย็นสบายดี

- อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พร้อมใช้ในการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง

- รู้สึกว่าไม่ค่อยสดชื่นสักเท่าไหร่ในการเรียนคาบนี้ เนื่องจากคาบเรียนต่อกันจึงทำให้ง่วง และเหนื่อยนิด

หน่อย แต่นั่งเรียนไปเรื่อยๆก็เริ่มดีขึ้น สดชื่นขึ้น

ประเมินเพื่อน

- มีคนเข้าสาย และมีคุยกันบ้างสำหรับเพื่อนที่นั่งข้างหลังห้อง 

- ให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น

ประเมินอาจารย์

- แต่งกายสุภาพเรียบร้อย สอนเข้าใจ เข้าสอนตรงเวลา

วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียน ประจำวันศุกร์ ที่ 23 มราคม 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่3


ความรู้ที่ได้

- พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง  เปรียบเสมือน ขั้นบันได

- ประโยชน์ของพัฒนาการ คือ ทำให้รู้จักเด็กมากขึ้น มีความตระหนักในการจัดการเรียนรู้และทำให้จัด

ประสบการณ์ให้สอดคล้องกับตัวเด็ก

- ความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการทางสติปัญญาและการทำงานของสมอง


  • พัฒนาการทางสติปัญญา คือ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง ในด้านความคิดและภาษา  
สติปัญญา   ....... ภาษา

                  ........ ความคิด  ประกอบด้วย เชิงเหตุผล ประกอบด้วย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

                                                  "              สร้างสรรค์  



สติปัญญาสัมพันธ์กับการทำงานของสมอง  คือ การทำงานของสมองนำมาจัดลำดับขั้นตอนตามช่วงอายุ

แล้วเกิดการปลี่ยนแปลงเป็นพัฒนาการทางด้านสติปัญญา


- พัฒนาการด้านสติปัญญาตามแนวคิด เพียเจต์ บรูเนอร์ ไวกอตซกี้

เพียเจต์ :  เป็นการเรียนรู้ที่เป็นลำดับขั้นตอน ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5

บรูเนอร์ : มนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง

ไวกอตซกี้ :  การจัดการรียนรู้จต้องคำนึงถึงระดับพัฒนาการ 2 ระดับ คือ พัฒนาการที่เป็นจริงแล

พัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้

- ความหมายของการเรียนรู้และประโยชน์ของการเรียนรู้


การเรียนรู้ คือ การรับรู้แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีประโยชน์ในการใช้ชีวิตให้อยู่รอด

- วิธีการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย


  1. เรียนรู้จากการเลียนแบบ
  2. การเล่น คือ การให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองผ่านประสาทสัมผสทั้ง 5


ทักษะ

- ทดสอบก่อนเรียน

- แสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ในเนื้อหาที่เรียน

วิธีสอน

- การใช้คำถาม

- วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับนักศึกษา

ประเมินสภาพห้องเรียน

-  บรรยายเย็นสบายเอื้ออำนวยต่อการเรียน

- อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ช่วงแรกๆ ไม่ค่อยอำนวยต่อการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง

-  มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนถึงแม้บางครั้งอาจจะตอบคำถามไม่ได้ แต่ก็ตั้งใจและให้ความสำคัญในการ

เรียน

ประเมินเพื่อน

- เพื่อนที่นั่งข้างหลังคุยกันมากจนน่ารำคาญ บางทีก็รู้สึกโมโห มีบางคนเอางานวิชาอื่นขึ้นมาทำในคาบเรียน

ประเมินอาจารย์

- อธิบายเนื้อหาได้เข้าใจชอบตอนที่อาจารย์อธิบายความหมายของพัฒนาการแล้วเปรียบเทียบเป็นขั้น

บันได

- อาจารย์อารมณ์ดี ยิ้มแย้ม บางทีก็มีเล่นมุขสร้างเสียงหัวเราะให้กับนักศึกษา


วันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียน ประจำวันศุกร์ ที่ 16 มกราคม 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่2


ความรู้ที่ได้รับ

- นำเสนอบทความเลขที่ 1-3

  บทความที่1  คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ การจัดสภาพการเรียนรู้และการวางแผนในการเรียนรู้

โดยผ่านวิธีการให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง ไม่เคร่งเครียด เพราะการลงมือปฏิบัติจะเป็นการกระตุ้นสมอง

ทำให้เกิดความคิดสิ่งใหม่ๆ โดยจะต้องเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันเพื่อเชื่อมโยงกับความรู้เดิม

เกี่ยวกับคณิตศาสตร์เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอด


 บทความที่ 2  การเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กวัยซน  คณิตศาสตร์มีความสำคัญกับเราตั้งแต่อยู่ในท้อง

การพัฒนาคณิตศาสตร์สำหรับเด็กจะต้องมีการปฏิสัมพันธ์ การพูดคุย เพื่อทำให้เกิดการกระตุ้นทางสมอง

ทำให้เกิดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์


- สรุปสาระสำคัญ

1. ความหมายของคณิตศาสตร์  คือ วิชาที่เกี่ยวกับการกับการคำควณและยังเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิต

ประจำวันและอาชีพทุกๆอาชีพ เด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ใช่แค่จำนวน ตัวเลข เด็กจะเรียนรู้

คณิตศาสตร์ได้จากการสังเกต เปรียบเทียบ และถ้าเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวสามารถจับต้องได้ยิ่งจะทำให้เด็ก

เรียนรู้ได้ดีขึ้น

2. ความสำคัญของคณิตศาสตร์  คือ คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิต ทำให้มนุษย์

เป็นผู้ที่มีเหตุผลมีนิสัยที่ละเอียดอ่อน รอบคอบ มีความไหวพริบปฎิญาณที่ดีขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาให้

ถูกต้อง ตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานให้กับคนในสังคมเพื่อดำรงชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข

3. ประโยชน์ของคณิตศาสตร์ คือ เป็นกระบวนการทางความคิดที่ต้องจัดตามความเหมาะสม กับการ

พัฒนาการของเด็ก เพื่อให้เด็กมีความคิดและมีประสิทธิภาพ
           
                             มีทั้งหมด 5 ทักษะดังนี้

                       1.จำนวนและการดำเนินการ

                       2.การวัด

                       3.เลขาคณิต

                       4.พีชคณิต

                       5.การวิเคาระห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

               
4. ทักษะพื้นฐานของคณิตศาสตร์ คือ  ทำให้เด็กเรียนรู้การจำแนกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะหรือขนาด

ของคณิตศาสตร์ช่วยส่งเสริมในการประกอบอาชีพต่างๆช่วยในการปลูกกฝังและอบรมทำให้มีนิสัย

ละเอียด สุขุม และ รอบคอบ

  ทักษะ

- ทดสอบก่อนเรียน

การทำกลุ่ม

-  แสดงความคิดเห็นในเนื้อหาที่เรียน


วีธีสอน

 - มีการบรรยายประกอบ power point

- การใช้คำถาม

ประเมินสภาพห้องเรียน  

มีสภาพที่เหมาะกับเรียน แอร์เย็นสบาย โต๊ะบางตัวไม่ได้คุณภาพ มีชำรุดบ้าง

ประเมินตนเอง

เตรียมตัวมาเรียนอย่างดี แต่งตัวสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนตรงต่อเวลา ให้ความสำคัญในการทำงานกลุ่ม

บางครั้งก็ไม่มีสมาธิอาจจะมีง่วงบ้าง


ประเมินเพื่อน

มีบางคนอาจจะขาดความพร้อมในการเรียน เช่น มีการขออนุญาตไปเข้าห้องน้ำในระหว่างเรียน และตอน

ที่อาจารย์เช็คชื่อ แต่เวลาทำงานกลุ่มทุกคนก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์

เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ พูดจาไพเราะ ให้แง่คิดในการนำเสนองานและอธิบายเทคนิคการสรุป

ใจความสำคัญที่ถูกต้อง


วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปบทความคณิตศาสตร์


    Math for Early Childhood  
                        การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                                                                    ที่มา: แผนกอนุบาล ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
                                                                                          ผู้เขียน: อ.กาญจนา คงสวัสดิ์




  การเรียนรู้ทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กแต่ละวัยย่อมแตกต่างกันไป เราสามารถส่งเสริมเนื้อหาทาง

คณิตศาสตร์ได้ทุกด้านแต่ต่างกันตรงวิธีการ สำหรับเด็กวัย3-4 ขวบ จำเป็นต้องเรียนคณิตศาสตรืผ่านสิ่ง

ที่เป็นรูปธรรมมากเพราะเขายังไม่เข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น ให้เด็กสามขวบ ดูตัวเลข 2 กับ 3 แล้ว

เอาเคื่องหมายมากกว่าน้อยกว่าไปให้เขาใส่ เขาก็จะงงแน่นอน ว่าเจ้าสามเหลี่ยมปากกว้างนี้คืออะไร 

เด็กวัยนี้การเรียนเรื่องจำนวนตัวเลขต้องผ่านสิ่งของที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้ แต่ถ้าเป็นพี่ 5หรือ 6 ขวบ 

จะเริ่มเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรมหรือสัญลักษณ์ต่างๆได้แล้ว เรียนรู้ได้จากสิ่งใกล้ตัว


 คณิตศาสตร์มีอยู่ทุกหนทุกแห่งรอบตัวเรา ในแต่ละวันเด็กๆมีโอกาสที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลข จำนวน 


รูปทรงเรขาคณิต การจับคู่ การแยกประเภท ฯลฯ เช่น การตื่นนอน ( เรื่องของเวลา) การแต่งกาย ( การ

จับคู่เสื้อผ้า) การรับประทานอาหาร ( การคาดคะเนปริมาณ)  การเดินทาง ( เวลา ตัวลขที่สัญญาณไฟ 

ทิศทาง) การซื้อของ ( เงิน การนับ การคำนวณ) ฯลฯ





วันศุกร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ที่ 9 มกราคม 2558

บันทึกการเรียน ครั้งที่1

1.แนะแนวการเรียนการสอนในรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยมีเกณฑ์

การให้คะแนน 5 อย่าง ด้วยกัน คือ

- คุณธรรมจริยธรรม

-  ความรู้

- ทักษะ

- ความสัมพันธ์

- เทคโนโลยี

2.อธิบายการทำอนุทิน ว่าจะต้องประกอบไปด้วย

- ความรู้ที่ได้รับ

- ทักษะ เช่น การคิด การแสดงความคิดเห็น การทำงานกลุ่ม

- วิธีการสอน เช่น การบรรยาย การใช้คำถาม การบรรยายประกอบ power point

- ประเมิน  เช่น สภาพห้องเรียน  ตัวเอง เพื่อน อาจารย์

3. สรุปความรู้เดิมเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

3.1  การจัด - ทำสื่อเกี่ยวกับการนับเลข

                 -ส่งเสริมกิจกรรมและประยุกต์การเล่นให้เชื่อมโยงกับการนับเลข

3.2  ประสบการณ์ - การร้องเพลง

                            - การเล่านิทาน

                            -ผลิตสื่อเกี่ยวกับการนับจำนวน

3.3  เด็กปฐมวัย  -การเล่น

                         - สื่อการเรียนรู้

3.4  คณิตศาสตร์  -  ตัวเลข

                           - การบวกเลข

                            -การนับ

4. ได้รับมอบหมายงานให้ค้นคว้าบทความเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ แล้วสรุปใจความสำคัญจากบทความ



ประเมินสภาพห้องเรียน

วันนี้สภาพห้องเรียนไม่ค่อยเหมาะสำหรับการเรียน เพราะขาดโปรเจ็กเตอร์ที่ต้องใช้ในการเรียนการสอน 

ประเมินตัวเอง

คิดว่าตัวเองมีความตั้งใจในการเรียนและทำกิจกรรม ถึงแม้บางครั้งอาจจะไม่ค่อยมีสมาธิ

ประเมินเพื่อน

เพื่อนทุกคนมีความตั้งใจในการทำกิจกรรมในห้องเรียน มีการให้คำปรึกษาซึ่งกันและกันในการทำงาน 

บางครั้งก็มีคุยกันบ้างในระหว่างที่อาจารย์สอน

ประเมินอาจารย์

อาจารย์มีการเตรียมตัวมาอย่างดีในการสอน เตรียมเอกสารมาแนะนำรายวิชาและอธิบายรายวิชาได้

ละเอียดและเข้าใจง่าย แต่อาจจะไม่เห็นเอกสารเพราะห้องเรียนไม่มีโปรเจ็กเตอร์  ดุอาจารย์เป็นคน

อัธยาศัยดีทำให้นักศึกษายิ้มและหัวเราะได้ตลอดในการเรียน